THAILAND: Ten years without justice for Somchai Neelaphaijit

 

http://www.humanrights.asia/news/alrc-news/human-rights-council/hrc25

ALRC-CWS-25-12-2014

February 26, 2014

HUMAN RIGHTS COUNCIL

Twenty fifth session, Agenda Item 4, General Debate

A written submission to the UN Human Rights Council by the Asian
Legal Resource Centre
THAILAND: Ten years without justice for Somchai Neelaphaijit *

The Asian Legal Resource Centre (ALRC) wishes to raise grave
concerns with the Human Rights Council about ongoing impunity in the
case of the disappearance of Somchai Neelaphaijit in Thailand. On 12
March 2014, the tenth anniversary of Somchai’s disappearance will pass
without the perpetrators being held to account. During the past ten
years, the Government of Thailand has obstructed the investigation and
judicial processes, at times actively and at times through inaction.
The ongoing failure to hold the perpetrators responsible has resulted
in both a failure to secure justice for Somchai Neelaphaijit as well
as the further consolidation of a broad culture of impunity for state
violence and violations of human rights in Thailand.

Somchai Neelaphaijit was a noted lawyer and human rights defender.
At the time of his enforced disappearance, Somchai was working on
behalf of five men who had alleged that they were tortured by state
security officials while they were in state custody in Narathiwat, one
of the three southern-most Thai provinces, which has been under
martial law since January 2004 and under emergency regulations since
July 2005. On 11 March 2004, the day before his enforced
disappearance, Somchai submitted a complaint to the National Human
Rights Commission, the Royal Thai Police, and the Senate which
detailed the forms of torture experienced by the five men. He argued
that this was both a violation of their rights and the Criminal Code,
which prohibits torture. He also spoke out publicly and passionately
on the case, accusing the police of gross wrongdoing. On 12 March
2004, one day after he submitted complaint, five policemen pulled
Somchai Neelaphaijit from his car on a main road in Bangkok. He has
not been seen since then.

The very form of the crime of enforced disappearance often makes
redress particularly difficult. In the case of the disappearance of
Somchai Neelaphaijit, at every stage of the investigation, there was
obfuscation by police officers, a lack of will by many inside the
state (including at the highest level of the then-prime minister,
Thaksin Shinawatra) to cooperate, and mishandling of evidence. After a
labyrinthine legal case and courageous struggle by his wife, Angkhana
Neelaphaijit, his children, and many human rights activists, the five
police officers who pulled him from his car ten years ago have no
charges outstanding against them. Four of them are known to be living
outside prison. Uncertainty surrounds the whereabouts of Police Major
Ngern Thongsuk, the only one of the five to be convicted (of coercion)
by the Court of First Instance on January 12, 2006. He was immediately
granted bail for the term of the appeal. Under conditions which remain
unclear, he allegedly disappeared following a mudslide in September
2008. On March 11, 2011, the conviction of Police Major Ngern Thongsuk
was overturned and the judgment of innocence of the four other
involved police officers was upheld by the Appeal Court.

In particular, the lack of the category of disappearance as a crime
within Thai criminal law has created a series of obstacles at each
stage of the judicial process. At this time, the Court of First
Instance and the Appeal Court have made rulings in the case, and it is
currently under examination by the Supreme Court.

a. Under evidentiary rules in the Thai Criminal Procedure Code,
without a body – which could never be located – a murder charge
cannot be levied. Therefore, the involved police officers were charged
and prosecuted for theft (of Somchai’s vehicle) and coercion. Only one
police officer out of five was found guilty by the Court of First
Instance in January 2006. However, additional evidentiary problems led
to his acquittal by the Appeal Court in March 2011.

b. In addition, in their ruling in this case, the Appeal Court
dispossessed the rights of victims and families to seek
accountability. In the case against the perpetrators, Angkhana
Neelaphaijit and her children were joint plaintiffs with the public
prosecutor. Under the Criminal Procedure Code, families can act on
behalf of injured or dead person. The Appeal Court ruled that in this
case, there was not sufficient proof that Somchai Neelaphaijit was
dead, and therefore his family could not act on his behalf. In other
words, the lack of the category of enforced disappearance within Thai
law has made it incredibly difficult to hold the perpetrators
accountable for their crimes. At present, the case is being examined
by the Supreme Court.

The Department of Special Investigation (DSI), a special elite
government investigation unit, is the one responsible for the case of
the disappearance of Somchai Neelaphaijit. The DSI has often seemed to
actively obstruct the struggle for justice in this case. This has
included the mishandling of evidence, a lack of interest in pursuing
the investigation, and the failure to provide proper witness
protection to Angkhana Neelaphaijit, Somchai’s wife. In late 2013 and
early 2014, the DWI engaged in a series of actions which suggested
that there is an intensified lack of will inside the state to continue
the search for justice in this case.

a. The first of these actions was a bizarre announcement by the DSI
that the case file had been stolen, and then its speedy recovery. In
December 2013, Niran Adulayasak, Director of DSI Special Criminal Case
Office 1 made a statement in a news report on Thai PBS television that
when members of the protests by the anti-government People’s
Democratic Reform Council broke into his building, they went to the
cabinet containing the file of Somchai’s case and removed it from the
premises. Several days later, following criticism by the AHRC, Human
Rights Watch, and other human rights advocates, Niran made a second
statement in a news report on Thai PBS television that the file had
been found in a corner of a steel cabinet.

b. During the same second news report, Niran announced that he
planned to consult the prosecutor of special litigation to terminate
investigation into the disappearance of Somchai Neelaphaijit in
January 2014. At present, there has been no announcement from Niran
himself, the DSI, or the Government of Thailand regarding whether or
not the investigation will continue.
A decision to end the investigation will result not only in yet
another obstacle to justice in this case, but will make it impossible.

Over two years ago, on 9 January 2012, the Thai Government signed
the UN International Convention for the Protection of All Persons from
Enforced Disappearance. To date, the convention has not been ratified
nor has domestic law making disappearance a distinct crime moved
forward in Thailand. The lack of a formal legal and investigatory
framework accounting for disappearance in Thailand is part of what has
caused the series of difficulties in the court case regarding Somchai
Neelaphaijit’s disappearance and what makes it possible for the DSI to
arbitrarily announce that they plan to halt the investigation into his
disappearance.

The Asian Legal Resource Centre is aware that ratification of the
Convention will entail significant changes to both national law and
the routine practices of law enforcement and the judiciary. However,
these changes are necessary in order to combat impunity in the cases
of the disappearance of Somchai Neelaphaijit, and in the cases of 59
other persons disappeared between 2001 and 2012 documented by the
Justice for Peace Foundation.

In particular, the Asian Legal Resource Centre would like to remind
the Government of Thailand of three crucial articles contained in the
Convention:

a. Article 3 of the Convention mandates that, “Each State Party
shall take appropriate measures to investigate acts defined in article
2 committed by persons or groups of persons acting without the
authorization, support or acquiescence of the State and to bring those
responsible to justice.” It is clear that under the Convention, rather
than curtailing the investigation into Somchai Neelaphaijit’s
disappearance, the DSI and other relevant agencies should recommit
themselves to securing the truth and justice.

b. Article 4 of the Convention mandates that, “Each State Party
shall take the necessary measures to ensure that enforced
disappearance constitutes an offence under its criminal law.” Either
the amendment of the Thai Criminal Code or the passage of a separate
law providing for the category of enforced disappearance is essential
in order to facilitate the full criminal and judicial investigation
can be carried out in cases of disappearance and to ensure that the
relatives of victims are not dispossessed of their right to seek
justice for their loved ones.

c. Article 5 of the Convention mandates that, “The widespread or
systematic practice of enforced disappearance constitutes a crime
against humanity as defined in applicable international law and shall
attract the consequences provided for under such applicable
international law.” Given the significant number of disappearances
documented in Thailand, and which may only represent a fraction of the
total number of disappearances, the Government of Thailand should be
mindful of the gravity of the crime.
As the Government of Thailand has not ratified the Convention, they
are not legally bound to adhere to these articles. However, the delay
in ratification should not be taken as permission to flagrantly
disregard the spirit and proscriptions of the Convention.

The Asian Legal Resource Centre would like to mark the tenth
anniversary of the disappearance of Somchai Neelaphaijit and call
attention to the urgency of action for justice in his case and those
of other disappeared in Thailand by sharing part of a recent article
published in the Bangkok Post in January 2014 by Angkhana
Neelaphaijit, Somchai’s widow and the chairperson of the Justice for
Peace Foundation. In the article, Angkhana spoke of her husband’s
struggle and death, Angkhana and her children discussed her husband’s
life, ideas, and the years since his disappearance. She wrote: “Over
the past 10 years, I have tried hard to reach for justice. But it is
getting even harder given the situation. I have been through many
things in my life, sorrow, disappointment and hardship, but nothing
has warranted such extensive use of knowledge, patience and tolerance
like this time. In many instances, my petitions for help have been
turned down by the powers-that-be. It looms as an insurmountable
obstacle for an ordinary person like me to reach out for justice and
the rule of law in Thailand. No one knows how painful and traumatic
the experience can be to bear witness to the fact that a person who
had done so much for so many people cannot even be bestowed with a
graveyard where his descendants could hold a service in memory of
him.”

In view of the above and in line with the principles for the
protection and promotion of human rights through action to combat
impunity, the Asian Legal Resource Centre calls on the UN Human Rights
Council to:

a. Call on the Government of Thailand ensure that the Department of
Special Investigation keeps the investigation into the disappearance
of Somchai Neelaphaijit open until the truth has been firmly and
publicly established;

b. Call on the Government of Thailand to ratify the International
Convention for the Protection of All Persons from Enforced
Disappearance, and;

c. Request that the Working Group on Enforced or Involuntary
Disappearances continue to monitor the case of Somchai Neelaphaijit
and other cases of disappearance in Thailand.

About the ALRC: /*/The Asian Legal Resource Centre is an
independent regional non-governmental organisation holding general
consultative status with the Economic and Social Council of the United
Nations. It is the sister organisation of the Asian Human Rights
Commission. The Hong Kong-based group seeks to strengthen and
encourage positive action on legal and human rights issues at the
local and national levels throughout Asia.

Read this online from AHRC

http://www.humanrights.asia/news/alrc-news/human-rights-council/hrc25/ALRC-CWS-25-12-2014

Higher Education: American University rejects a quarter of Thai students’ applications

This is only to keep for possible future reference

ปีที่แล้วรองผอ.แอดมิชชันมหาลัยทัพส์ ทิ้ง 25% ของใบสมัครจากไทยเพราะสงสัยว่าทุจริต ในบทความเต็มจากนิตยสารฟอร์จูน โฆษกมหาลัยสแตนฟอร์ดกล่าวถึงไฮโซไทยที่ทำธุรกิจที่ปรึกษาด้านการสมัครมหาลัยดัง ข่าวว่าปตท.และปูนซีเมนต์ไทยเป็นลูกค้าเขาด้วย มีการแอบอ้างที่ไทยว่าเคยเป็นอดีตเจ้าหน้าที่แอดมิชชันที่สแตนฟอร์ด ปัจจุบันเวลามหาลัยจัดงานให้ข้อมูลที่ไทยก็ระวังไม่ให้ไฮโซคนนี้เข้าร่วมงาน ถ้าอยากรู้ว่าไฮโซคนนี้ชื่ออะไรก็หาซื้อนิตยสารฟอร์จูนอ่านได้ค่ะ บทความเต็มไม่ฟรีค่ะ บทความชื่อ The Global Business of College Admissions นิตยสาร Fortune ฉบับวันที่ 24 กพ.2014 เรื่องราวของไฮโซคนนี้กินพื้นที่หลายหน้าในนิตยสารค่ะ บทความ(ฉบับเต็ม)บอกว่าไม่นานมานี้รร.ธุรกิจที่สแตนฟอร์ดกะรร.ธุรกิจที่ MITยกเลิกแอดมิชชันที่ให้คนไทยคนหนึ่งเพราะเกี่ยวข้องกับบริษัทดังกล่าว น่าติดตามว่าเรื่องนี้จะมีสื่อไทยนำไปเล่าสู่กันฟังไหม?http://money.cnn.com/2014/02/06/leadership/college-applications.pr.fortune/index.html

‘But you don’t like to read. Why do you want to go to Harvard?’

(Fortune)

Daniel Grayson thought there was probably something fishy about the kid who said his childhood friend died from a procedure in a back-alley abortion clinic in Bangkok. Grayson, an associate director of admissions at Tufts University who recruits students and reviews applications from Southeast Asia, had been warned about too-good-to-be-true applications from Thailand. This one, from a student who claimed to have been so inspired by his friend’s plight that he made a documentary on illegal abortion and promoted it with great success on the Internet, got him wondering. Grayson emailed the applicant, a senior at a Thai international school, asking to see the film. He heard back several weeks later from the student, who sent a link to a video posted to YouTube the day before by another person. The “documentary” — a three-minute reel of stock photo images accompanied by a student reading a bland script on abortion — looked hastily thrown together.Tufts denied the applicant. In fact, during the 2013 admissions season, Grayson threw out a quarter of the applications from Thailand for suspected cheating. The applicants, he says, had offered impressive stories of enterprising (but fictitious) extracurricular projects, like the student who said he had invented an elephant motion detector to help protect agricultural fields in rural Thailand.

Padding college applications is virtually as old as higher education itself; for all we know Nostradamus may have overstated his powers of prophecy to secure a spot at the University of Avignon. But many undergraduate and graduate officials say that in recent years there’s been a spike in problematic submissions, especially from emerging markets, where the families of the elite and the growing middle class are eager to ensure their children’s success with degrees from top U.S. schools. And they are enlisting the aid of a growing professional class of consultants and fixers who will not only help a student navigate the complexities of the American college system but in many cases buff and polish a candidate’s application beyond recognition.

In the most extreme cases, students and parents turn to savvy and unethical admissions consultants who excel at packaging students for U.S. audiences; for a pretty price, consultants will happily write essays and recommendations, fabricate student backstories, and coach applicants through enough interviews that the lies stick. “There do seem to be countries where getting unwarranted ‘help’ isn’t considered cheating as much as it is seen as a necessary way of doing business,” says Therese Overton, an associate dean of admission at Wesleyan University. “As the stakes rise and more people are apprised of the possibilities, it does appear the problem is getting worse.”

http://bangkok.coconuts.co/2014/02/17/higher-education-american-university-rejects-quarter-thai-students-applications

Higher Education: American University rejects a quarter of Thai students’ applications

When applying to universities that look for more than scores from multiple-choice tests, some Thai students have gone so far padding their applications that at least one Western university now regards all of them with suspicion.

During the 2013 application season, Daniel Grayson, an admissions official at Tufts University in Massachusetts, reveals he had to throw out a quarter of all applications from Thai students who were suspected of cheating or just making up wonderful stories to impress screeners.

One Thai student claimed in his letter he was inspired by his friend’s tragic death to make a documentary on illegal abortion which became a great success on the Internet. Grayson emailed the applicant, a senior at an unnamed Bangkok international school, and inquired to see the film, which of course turned out to be a three-minute slideshow of stock photo images uploaded the day before.

And then there was the student who said he’d invented an elephant motion detector to help protect agricultural fields in rural Thailand. Uh huh.

In recent years, CNN reported there has been a continuous increase in too-good-to-be-true applications, many of which were likely written by pricy “education consultants,” which help students create a letter appealing to the American academic audience.

“There do seem to be countries where getting unwarranted ‘help’ isn’t considered cheating as much as it is seen as a necessary way of doing business,” said Therese Overton, an associate dean of admission at Wesleyan University. “As the stakes rise and more people are apprised of the possibilities, it does appear the problem is getting worse.”

Pressured by social status and the idea of “losing face,” many Thai elite and upper-middle class families feel the need to secure for their children an education abroad at a top university, preferably in the United Kingdom or United States, because it reflects the family’s wealth.

By pampering their children with interview coaches and private mentors to help them pad and lie through the process of admission, the credibility of Thai students in general has worsened. We can’t help but feel sorry for those smart kids who fight for a scholarship fairly and work hard to pay to study abroad, only to automatically be suspected as one of the “liars” in a stack of submissions.

continue to read comments from original : http://bangkok.coconuts.co/2014/02/17/higher-education-american-university-rejects-quarter-thai-students-applications

THAILAND: Legal and Extralegal Threats to Freedom of Expression

ALRC-CWS-25-07-2014

February 24, 2014

http://www.humanrights.asia/news/alrc-news/human-rights-council/hrc25/ALRC-CWS-25-07-2014

HUMAN RIGHTS COUNCIL

Twenty fifth session, Agenda Item 3, General Debate

A written submission to the UN Human Rights Council by the Asian
Legal Resource Centre

THAILAND: Legal and Extralegal Threats to Freedom of Expression

The Asian Legal Resource Centre (ALRC) wishes to raise grave
concerns about the intensification of legal and extralegal threats to
freedom of expression in Thailand. Carried out in the name of
protecting the monarchy, this range of threats constitutes the
entrenchment of the normalization of the violation of human rights and
curtailment of freedom of expression. This statement is the eighth on
this topic that the ALRC has submitted to the Council since May 2011.
During the seventeenth session of the Council in May 2011, the ALRC
highlighted the rise in the legal and unofficial use of Article 112 of
the Criminal Code and the 2007 Computer Crimes Act (CCA) to constrict
freedom of expression and intimidate citizens critical of the monarchy
(A/HRC/17/NGO/27). During the nineteenth session in February 2012, the
ALRC detailed some of the threats faced both by those who have
expressed critical views of the monarchy, both legal and extralegal,
as well as those who have expressed concern about these threats
(A/HRC/19/NGO/55). During the twentieth session in June 2012, the ALRC
raised concerns about the weak evidentiary basis of convictions made
under Article 112 and the CCA (A/HRC/20/NGO/37) and the concerning
conditions surrounding the death in prison custody of Amphon
Tangnoppakul on 8 May 2012, then serving a 20-year sentence for four
alleged violations of Article 112 and the CCA (A/HRC/20/NGO/38).
During the twenty-second session in March 2013, the ALRC highlighted
the January 2013 conviction under Article 112 of human rights defender
and labour rights activist Somyot Prueksakasemsuk (A/HRC/22/NGO/44).
During the twenty-third session in June 2013, the ALRC emphasized the
regularization of the crisis of freedom of expression, and noted that
constriction of speech had become constitutive of political and social
life in Thailand (A/HRC/23/NGO/42). During the twenty-fourth session
in October 2013, the ALRC emphasized the dangers of the normalization
of the violation of human rights in the name of protecting the
monarchy (A/HRC/24/NGO/35).

Over the course of the prior seven statements, the ALRC first noted
with surprise the active use of measures to constrict speech, then
tracked the expansion of this use, and finally, the entrenchment of
the foreclosure of freedom of speech. The ALRC is again raising the
issue of freedom of expression with the Council because the law has
continued to be actively used to violate the right to freedom of
expression and extralegal threats to freedom of expression, and human
rights broadly, have emerged in Thailand. In the statement submitted
to the Council in October 2013, the ALRC warned that the routine
denial of bail and the use of vague references to national security to
attempt to legitimize the violation of the human rights of those with
dissident views had become normalized. In this statement, the ALRC
wishes to alert the Human Rights Council to ongoing developments that
indicate the urgency, and growing difficulty, of addressing the crisis
of freedom of expression in Thailand.

There are two primary laws that are used to both legally constrict
freedom of speech in Thailand and create a broad climate of fear for
those who hold dissenting opinions. Article 112 of the Criminal Code
criminalizes criticism of the monarchy and mandates that, “Whoever
defames, insults or threatens the King, Queen, the Heir-apparent or
the Regent, shall be punished with imprisonment of three to fifteen
years.” The 2007 Computer Crimes Act (CCA), which was promulgated as
part of Thailand’s compliance as a signatory to the United Nations
Convention Against Transnational Organized Crime, has been used to
target web editors and websites identified as critical of the monarchy
or dissident in other ways. The CCA provides for penalties of up to
five years per count in cases that are judged to have involved the
dissemination or hosting of information deemed threatening to national
security, of which the institution of the monarchy is identified as a
key part. While Article 112 has been part of the Criminal Code since
the last major revision in 1957, available statistics suggest that
there has been a dramatic increase in the number of complaints filed
since the 19 September 2006 coup; how often these complaints become
formal charges and lead to prosecutions is information that the
Government of Thailand has continuously failed to provide up to the
present. The CCA has often been used in combination with Article 112
in the seven years since its promulgation; similar to the use of
Article 112, the Government of Thailand has not made complete usage
information available. This failure to make information public about
the frequency and conditions of use of both laws creates fear and
diminishes the space for freedom of expression through the use of
secrecy and creation of uncertainty.

In addition to the continued use of the law to constrict speech,
recent events indicate that there is an increase in the potential for
extralegal violence against those who hold dissident views. During the
statement submitted to the nineteenth session (A/HRC/19/NGO/55) in
March 2012, the ALRC warned the Council about the threats made against
members of the Khana Nitirat, a group of progressive legal academics
at Thammasat University who proposed reform of Article 112. In
response, hundreds of threats were posted online against the group,
calling for the members to be attacked, killed, beheaded, and burned
alive. Subsequently, one of the members of the group, Professor
Worachet Pakeerut, was assaulted outside his office at Thammasat by
two young men who later told the police that they attacked him because
they disagreed with his ideas.

On February 12, 2014, an attack on another progressive academic,
Professor Somsak Jeamteerasakul, a history professor at Thammasat
University and outspoken political and cultural critic, indicates a
renewed increase in the permissive climate for extralegal intimidation
and violence of those who hold dissenting opinions. Two assailants
fired repeated gunshots at the home and car of Professor Somsak.
Although he did not sustain any physical injuries, the damage to his
car and house indicate that the violence was intended to be deadly.
The attack took place during the day, while Professor Somsak was at
home, which lends further credence to the idea that the perpetrators
intended to inflict harm or death and that they were unconcerned with
being seen.

Professor Somsak Jeamteerasakul’s writing and teaching have inspired
many students and citizens to carefully examine the past, present, and
persecution of the powerless by the powerful in Thailand. His
criticism often makes those in power uncomfortable, and there has been
an attempt to use Article 112 to curtail his speech. In April 2011, a
police investigation began against him in relation to a complaint
likely made in relation to comments he made in article about a
Princess Chulabhorn’s (one of the daughters of the current Thai king)
appearance on a talk show. This case is still ongoing, even though
Article 112 does not apply to Princess Chulabhorn, and so there is no
legal restriction of comments made about her. In early February 2014,
the deputy spokesman of the Royal Thai Army commented that the Army
plans to file additional complaints of violations of Article 112
against Professor Somsak in relation to comments he posted on the
social media website Facebook.

The ALRC is particularly concerned that the violent attack on
Professor Somsak has come so close following the comments of the
deputy spokesman of the Royal Thai Army regarding further proceedings
under Article 112 against him. While the identities and motivations of
the attackers remain unknown pending police investigation, the
temporal link to the formal and legal action taken against him by the
Royal Thai Army is striking. In addition, given the severe
polarization in Thai society which began when the protracted protests
against the elected government began in November 2013, this extralegal
attack on Professor Somsak is a further indication of the ongoing
breakdown of the rule of law in Thailand.

The ALRC would like to remind the Thai government that they are a
state party to the International Covenant on Civil and Political
Rights (ICCPR) and are bound to uphold the human rights principles
named therein. In particular, the ALRC would like to call on the Thai
state to uphold Article 19 of the ICCPR, in particular, paragraph 1,
which guarantees that, “Everyone shall have the right to hold opinions
without interference,” and paragraph 2, which guarantees that,
“Everyone shall have the right to freedom of expression; this right
shall include freedom to seek, receive and impart information and
ideas of all kinds, regardless of frontiers, either orally, in writing
or in print, in the form of art, or through any other media of his
choice.” It is imperative that the Thai state’s protection of the
rights guaranteed in Article 19 and the remainder of the ICCPR be
active, rather than passive. Upholding the ICCPR necessarily entails
protecting those whose views are dissident and ensuring that they can
safely exercise their political freedom. Failure to do so will signal
to vigilante actors that attacking those who hold different views are
acceptable within the Thai polity.

The ALRC would also like to remind the Government of Thailand that
under Article 19 of the ICCPR, restrictions on the right to freedom of
expression are only permissible under two circumstances: “for respect
of the rights or reputations of others” and “for the protection of
national security or of public order (ordre public), or of public
health or morals.” Although Article 112 is classified as a crime
against national security within the Criminal Code of Thailand, and
this, along with the need to protect the monarchy, is frequently cited
by the Government of Thailand when faced with the criticism that the
measure is in tension with the ICCPR, a precise explanation of the
logic for categorizing the measure as such has not been provided to
date. Until this explanation is provided, the constriction of freedom
of expression is arbitrary and contributes to a climate hostile to
human rights.

The ALRC is gravely concerned about the ongoing legal and extralegal
threats to freedom of expression in Thailand, and their effects on
human rights, justice, and the rule of law in Thailand. The
intensification of extralegal threats to dissenting citizens’ rights
and lives as indicated by the February 2014 attack on Professor Somsak
Jeamteerasakul represents a new point of crisis in the longstanding
climate of constriction of political freedom in Thailand.

In view of the above, the Asian Legal Resource Center calls on the
UN Human Rights Council to:

Call on the Government of Thailand to ensure that a full
investigation into the attack on Professor Somsak Jeamteerasakul is
carried out and bring the men who shot at his house and car to
justice;

Call on the Government of Thailand to release all those convicted or
facing charges under Article 112 and the 2007 Computer Crimes Act. At
a minimum, those currently being held should immediately be granted
bail while their cases are in the Criminal or Appeal Courts;

Demand that the Government of Thailand revoke Article 112 of the
Criminal Code and the 2007 Computer Crimes Act;

Urge the Government of Thailand to allow and support the full
exercise of freedom of expression and political freedom, consistent
with the terms of the Universal Declaration of Human Rights, to which
it is a signatory, and the International Covenant on Civil and
Political Rights, to which it is a state party, and;

Request the Special Rapporteur on the freedom of opinion and
expression to continue ongoing monitoring and research about the broad
situation of constriction of rights and individual cases in Thailand;
and, the Working Group on Arbitrary Detention to continue to monitor
and report on those cases of persons arbitrarily detained under
Article 112.

About the ALRC: The Asian Legal Resource Centre is an
independent regional non-governmental organisation holding general
consultative status with the Economic and Social Council of the United
Nations. It is the sister organisation of the Asian Human Rights
Commission. The Hong Kong-based group seeks to strengthen and
encourage positive action on legal and human rights issues at the
local and national levels throughout Asia.// /

Read this online from AHRC
http://www.humanrights.asia/news/alrc-news/human-rights-council/hrc25/ALRC-CWS-25-07-2014

Atrocities in North Korea

THE WEEK IN RIGHTS
http://www.hrw.org/newsletter
February 20, 2014
=================================

Atrocities in North Korea
https://www.hrw.org/news/2014/02/17/north-korea-un-should-act-atrocities-report

A new United Nations report has found that crimes against humanity are occurring in North Korea and calls for an international tribunal to investigate and hold perpetrators to account.

This shocking report should open the eyes of the UN Security Council to the atrocities that plague the people of North Korea and threaten stability in the region. By focusing only on the nuclear threat in North Korea, the Security Council is overlooking the crimes of North Korean leaders who have overseen a brutal system of gulags, public executions, disappearances, and mass starvation.
Read more >>

https://www.hrw.org/news/2014/02/17/north-korea-un-should-act-atrocities-report

Watch the video >>
http://www.youtube.com/watch?v=cZby_vxrJ0Q

New Video Shows Horrors of North Korea Through Eyewitness Testimony
FEBRUARY 17, 2014
“This shocking report should open the eyes of the UN Security Council to the atrocities that plague the people of North Korea and threaten stability in the region. By focusing only on the nuclear threat in North Korea, the Security Council is overlooking the crimes of North Korean leaders who have overseen a brutal system of gulags, public executions, disappearances, and mass starvation.”
Kenneth Roth, executive director
  • A North Korean prison policewoman stands guard behind fences at a jail on the banks of Yalu River near the Chongsong county of North Korea, opposite the Chinese border city of Dandong on May 8, 2011. © 2011 Reuters

“This shocking report should open the eyes of the UN Security Council to the atrocities that plague the people of North Korea and threaten stability in the region. By focusing only on the nuclear threat in North Korea, the Security Council is overlooking the crimes of North Korean leaders who have overseen a brutal system of gulags, public executions, disappearances, and mass starvation.”
Kenneth Roth, executive director

(Geneva) – A new United Nations report has found that crimes against humanity are occurring in North Korea and calls for an international tribunal to investigate and hold perpetrators to account, Human Rights Watch said today.

The report, by a UN Commission of Inquiry appointed by the UN Human Rights Council in March 2013, recommends that the UN Security Council refer the situation in North Korea to the International Criminal Court (ICC) and that the UN High Commissioner for Human Rights carry out investigations. The three person commission, which was chaired by Australian jurist Michael Kirby, will formally present its findings to the Human Rights Council on or around March 17, 2014. The council will then consider a resolution to act on the commission’s recommendations.

“This shocking report should open the eyes of the UN Security Council to the atrocities that plague the people of North Korea and threaten stability in the region,” saidKenneth Roth, executive director at Human Rights Watch. “By focusing only on the nuclear threat in North Korea, the Security Council is overlooking the crimes of North Korean leaders who have overseen a brutal system of gulags, public executions, disappearances, and mass starvation.”

https://www.youtube.com/watch?v=cZby_vxrJ0Q
The commission’s report finds that crimes against humanity were committed in North Korea over a multi-decade period “pursuant to policies established at the highest level of the State,” and included “extermination, murder, enslavement, torture, imprisonment, rape, forced abortions and other sexual violence, persecution on political, religious, racial and gender grounds, forcible transfer of persons, enforced disappearance of persons and the inhumane act of knowingly causing prolonged starvation.” The report notes in particular “a systematic and widespread attack against all populations that are considered to pose a threat to the political system and leadership.”

New video features eyewitness accounts of atrocities 
To coincide with the release of the commission’s report, Human Rights Watch today released a video, “North Korea: Tales from Camp Survivors,” with interviews of North Koreans who survived years of abuse while incarcerated in political prison camps (kwanliso), including systematic use of beatings, food deprivation and starvation, and public executions, to control those held there. The film includes interviews with former camp guards detailing camp administration and atrocities. Regarding these types of camps, the commission found: “The unspeakable atrocities that are being committed against inmates of the kwanliso political prison camps resemble the horrors of camps that totalitarian states established during the 20th century.”

The commission’s report also finds that crimes against humanity were committed “against starving populations” in the context of mass famines in the 1990s, through “decisions and policies taken for the purposes of sustaining the present political system, in full awareness that such decisions would exacerbate starvation and related deaths amongst much of the population.” In addition, the report finds that a widespread campaign of abductions of South Korean and Japanese citizens by North Korean agents, primarily during the 1970s and early 1980s, constitutes crimes against humanity.

“The devastating findings of this inquiry should not be ignored,” Roth said. “Since the crimes were perpetrated by state actors, only an international tribunal can properly carry out criminal investigations aimed at holding perpetrators accountable.”

Human Rights Watch urged the Human Rights Council to endorse the commission’s recommendations by adopting a strong resolution on North Korea during its March session, and task the UN Secretary General Ban Ki-moon with transmitting the report directly to the UN Security Council and General Assembly for action.

The report concludes that information it collected constitutes “reasonable grounds. . .to merit a criminal investigation by a competent national or international organ of justice,” which could include the ICC, or an ad hoc tribunal created by the UN Security Council or by the consent of UN member states.

Besides referring North Korea to the ICC, the report notes that the UN Security Council has the power to set up a special tribunal for North Korea. This would be an appropriate step since many of the crimes documented by the commission occurred before 2002, when the ICC statute came into force.Tribunals created with UN Security Council resolutions have been set up for crimes committed in Rwanda and the former Yugoslavia.

Independent of the Security Council, the report notes that the UN General Assembly could pass a resolution aimed at establishing an ad hoc tribunal operated by a set of willing countries. Such a tribunal, set up by UN member states without Security Council authorization, would lack compulsory power under the UN Charter but could carry out many of the same functions as a Security Council-authorized tribunal.

Human Rights Watch urged Security Council members to immediately invite the Commission of Inquiry to brief them on their findings, and called on other countries to support efforts to achieve accountability for crimes committed in North Korea.

“The UN was set up in the aftermath of the Second World War precisely to address this kind of massive abuse,” Roth said. “The atrocities described in this report are a profound challenge to the founding ideals of the UN and should shock the organization into bold action. The suffering and loss endured by victims demand swift and definitive action aimed at bringing those responsible to justice.”

Selected accounts from the UN Commission of Inquiry Report
A former guard in a prison for political prisoners told the commission: “Inmates in the [political prison camps] are not treated like human beings. They are never meant to be released […] their record is permanently erased. They are supposed to die in the camp from hard labour. And we were trained to think that those inmates are enemies. So we didn’t perceive them as human beings.”

One prisoner told the commission that he was forced to dispose of over 300 bodies during his 10 years in a camp at Yodok, and described how camp authorities once bulldozed a hill that had been used to bury dead prisoners, to turn it into a corn field: “As the machines tore up the soil, scraps of human flesh reemerged from the final resting place; arms and legs and feet, some still some still stockinged, rolled in waves before the bulldozer. I was terrified. One of friends vomited. …. The guards then hollowed out a ditch and ordered a few detainees to toss in all the corpses and body parts that were visible on the surface.”

The commission found that political prison camp prisoners, which included children and even babies born to prisoners, were only be able to survive “by hunting and gathering insects, rodents and wild plants or finding ways to divert food meant for the guards and farm animals.” One prisoner, describing the effects of the deprivation of food, said: “[The] babies [had] bloated stomachs. [We] cooked snakes and mice to feed these babies and if there was a day that we were able to have a mouse, this was a special diet for us. We had to eat everything alive, every type of meat that we could find; anything that flew, that crawled on the ground. Any grass that grew in the field, we had to eat. That’s the reality of the prison camp.”

A witness, describing what the commission found to be deliberate famine in the 1990s, stated: “We would eat tree bark, and we would get the roots of the cabbage under the ground, but that was just not enough. As time passed, our grandmother and other weak people were just not able to move at all.”

Another said: “So many people died that we didn’t have enough coffins so we borrowed [traditional burial boards] to give them burials. We didn’t have any wood to even give tombstones. That’s how many people died.”

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย : จาตุรนต์ ฉายแสง

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย : จาตุรนต์ ฉายแสง

ดาวน์โหลด PDF 14 pages 109 Kb : ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย mod

Open Office Writer 14 pages 47.6 Kb ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย mod  

และสามารถคลิกที่ ชื่อ หรือ วันที่ไต้ชื่อ Chaturon Chaisang ไปยังหน้าต้นฉบับของ Facebook สำหรับแต่ละตอนได้

Chaturon Chaisang

February 11

ถอดรหัสมหากาพย์การเมือง : สิ่งที่ชนชั้นนำอำมาตย์ต้องการจะเกิดขึ้นได้มีเพียงทางเดียวคือต้องรัฐประหาร

ร่วมกันรักษาและเดินหน้าสร้างประชาธิปไตย
ตอน 5

ความจริงก็มีเรื่องที่จะถอดรหัสต่อว่า จากนี้ไปบ้านเมืองจะเป็นอย่างไร หากเราต้องการรักษาประชาธิปไตย หรือทำให้บ้านเมืองนี้เป็นประชาธิปไตยจริงๆ เราจะต้องทำอะไรกัน แต่ในระหว่างนี้พัฒนาการของสถานการณ์มีแนวโน้มที่จะยืดเยื้อต่อไปอีกนาน

ตอนนี้คงต้องเท้าความสักเล็กน้อยก่อนที่จะถอดรหัสกันต่อไป

เป้าหมายที่แท้จริงของการเสนอให้ ปฏิรูปก่อนเลือกตั้งก็คือการเปลี่ยนระบอบการปกครองไปสู่ระบอบที่ชนชั้นนำและอำมาตย์สามารถกำหนดได้อย่างแน่ชัดว่าจะให้ใครเป็นรัฐบาล รวมทั้งกำหนดได้ด้วยว่าจะให้รัฐบาลหนึ่งๆอยู่ในอำนาจนานเท่าใด ในระบอบการปกครองแบบนี้ การเลือกตั้งจะไม่มีความหมาย เพราะประชาชนจะไม่สามารถเลือกรัฐบาลได้อีกต่อไป

แต่จะก้าวไปสู่จุดนั้นได้ก็มีแต่ต้องฉีกรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน หรือทำรัฐประหารเสียก่อนเท่านั้น

ผมได้วาดภาพไว้ว่า หากมีการฉีกรัฐธรรมนูญหรือเกิดรัฐประหารขึ้นมาจริงๆ สิ่งที่จะตามมาอาจเป็นสิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ไม่พึงปรารถนาเลย แต่ดูเหมือนพวกเขายังคงดำรงจุดมุ่งหมายอย่างแน่วแน่เอาเสียจริงๆ

มีความพยายามที่จะให้เลื่อนการเลือกตั้งออกไปเพื่อจะได้มีเวลาจัดการกับรัฐบาล และดำเนินการต่างๆให้เป็นไปตามที่วางแผนกันเอาไว้ได้มากยิ่งขึ้น แต่เมื่อเสียงเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งตามกำหนดดังขึ้นๆ การเลือกตั้งจึงได้เกิดขึ้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ตามกำหนด

แต่การเลือกตั้งก็ยังไม่แล้วเสร็จ และไม่มีทีท่าหรือวี่แววว่าจะสำเร็จลุล่วงไปได้ในเร็วๆนี้แต่อย่างใด

กกต.บอกว่าอาจใช้เวลา 4 – 6 เดือนหรือตลอดไป โดยอธิบายให้เห็นได้ง่ายๆว่าถ้าการนับคะแนนยังไม่เสร็จแม้เพียงหน่วยเดียว จำนวนที่นั่งในระบบบัญชีรายชื่อก็ไม่อาจคำนวณเพื่อแบ่งกันได้ที่นั่ง และการประชุมสภาก็ไม่มีทางที่จะเกิดขึ้น

ถ้าสุเทพกับพวกยังเคลื่อนไหวขัดขวางการเลือกตั้งและกระทำผิดกฎหมายกันได้อย่างเสรีอย่างที่ทำอยู่ในปัจจุบันนี้ อย่าว่าแต่หน่วยเดียวเลย เป็นพันๆหน่วยพวกเขาก็สามารถขัดขวางไม่ให้มีการลงคะแนนหรือนับคะแนนได้เรื่อยไป นี่ยังไม่นับความพยายามที่จะให้มีการตัดสินให้การเลือกตั้งที่ผ่านมาเป็นโมฆะอีกด้วย

ช่วงเวลาที่ยังไม่มีสภาใหม่ ไม่มีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง จึงมีแนวโน้มว่าจะยาวนานมาก มากเกินพอสำหรับการที่องค์กรต่างๆและตุลาการภิวัฒน์จะจัดการกับรัฐบาลและนักการเมืองฝ่ายรัฐบาล

แต่ก็อย่างที่ผมได้เคยวิเคราะห์ไว้แล้วว่าตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่ แม้จะจัดการอย่างไรก็ยังไม่อาจทำให้เกิดสภาพสุญญากาศทางการเมืองจนสามารถใช้มาตรา 7 ตั้งรัฐบาลคนกลางหรือคนนอกขึ้นมาได้ จะมีสภาประชาชนเพื่อปฏิรูปก่อนการเลือกตั้งก็ยังทำไม่ได้อยู่ดี

เมื่อเป็นดังนี้ จึงไม่น่าแปลกใจที่มีคนกลุ่มหนึ่งไปวางแผนยึดอำนาจรัฏฐาธิปัตย์โดยเสนอให้มีการรัฐประหารกันอยู่อย่างเปิดเผย ไม่อายชาวโลกเลยแม้แต่น้อย

ในขณะเดียวกันสุเทพกับพวกก็ยังเคลื่อนไหวสร้างความเดือดร้อนเสียหายแก่บ้านเมืองต่อไปอย่างไม่หยุดหย่อน

ยิ่งมีกรณีความเดือดร้อนของชาวนาเข้ามา และรัฐบาลยังไม่สามารถแก้ปัญหาให้ชาวนาได้อย่างทันท่วงทีด้วยแล้ว สุเทพกับพวกก็ยิ่งสบโอกาสใช้เป็นเงื่อนไขในการทำลายความชอบธรรมของรัฐบาลให้หนักข้อเข้าไปอีก

ความขัดแย้งทางการเมืองก็ยิ่งตึงเครียดขึ้น แต่ก็ไม่มีแนวโน้มว่าจะเผด็จศึกกันไปได้ในเร็ววันนี้ ความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมนับวันก็ยิ่งเพิ่มพูนขึ้นเป็นทวีคูณ

สถานการณ์การเมืองของประเทศเรามาอยู่บนทางสองแพร่ง ทางหนึ่งคือ

การทำให้สุเทพกับพวกและชนชั้นนำล้มเลิกความตั้งใจของพวกเขา แล้วกลับมายอมรับกระบวนการตัดสินปัญหาความแตกต่างทางการเมืองโดยอาศัยการเลือกตั้ง เดินหน้าไปหาทางปฏิรูปร่วมกันโดยกระบวนการที่เป็นประชาธิปไตย แล้วก็ยุบสภาให้มีการเลือกตั้งกันใหม่ เพื่อให้ได้รัฐบาลที่เป็นที่ยอมรับของประชาชนมาบริหารประเทศต่อไป

หรืออีกทางหนึ่งคือ

ชนชั้นนำและอำมาตย์ดำรงจุดมุ่งหมายของตนต่อไปจนนำไปสู่ความขัดแย้งและความรุนแรง เกิดการฉีกรัฐธรรมนูญ รัฐประหาร และยิ่งกลายเป็นความขัดแย้งและความรุนแรงไม่สิ้นสุด

ต้องยอมรับว่าเมื่อพิจารณาจากความเป็นจริงของสังคมไทยในขณะนี้ อย่างหลังมีความเป็นไปได้มากกว่าอย่างแรกเป็นอันมาก

สังคมไทยเรามีประสบการณ์ผ่านความขัดแย้งและความรุนแรงมาแล้วไม่น้อย ยิ่งประสบการณ์ผ่านการรัฐประหารมาแล้วยิ่งมาก

แต่สภาพที่สังคมไทยจะต้องเผชิญนับแต่นี้ไปอีกยาวนานอันเนื่องมาจากความไม่เป็นประชาธิปไตยและไม่ยึดหลักนิติธรรมก็คือ สภาพที่บ้านเมืองไม่มีขื่อไม่มีแป เพราะกฎหมายไม่เป็นกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นธรรม เกิดการเลือกปฏิบัติและสองมาตรฐาน

เมื่อไม่มีการรักษากฎหมายและไม่มีความยุติธรรม ผู้คนก็ไม่หวังพึ่งกฎหมาย แต่ต้องพึ่งตนเองหรือจัดการแก้ปัญหาต่างๆด้วยกำลังของตนเอง จะเกิดการใส่ร้ายป้ายสีเป็นไปอย่างเสรี การใช้เหตุผลน้อยลง เกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย เกิดการยุยงให้เกลียดชัง โกรธแค้นกันจนถึงขั้นห้ำหั่นทำลายล้างกันโดยไม่ฟังเหตุฟังผลและไม่คำนึงถึงกฎหมายบ้านเมือง เกิดความขัดแย้ง ความรุนแรง และสูญเสียมากกว่าช่วงเวลาใดๆในอดีตที่ผ่านมา

แล้วเราจะทำอย่างไรกัน

ในการตอบคำถามนี้ ผมคิดว่าเราพอจะแบ่งเรื่องที่ต้องคิด ออกได้เป็น 3 ส่วน คือ

1.สิ่งที่ต้องทำเฉพาะหน้านี้ คือการรักษาประชาธิปไตย

2.ระยะต่อไป เมื่อสูญเสียประชาธิปไตยไป คือการต่อสู้เพื่อให้ได้ประชาธิปไตยกลับคืนมา และ

3.ระยะยาว คือการสร้างประชาธิปไตยที่แท้จริงให้เกิดขึ้น

สิ่งที่ต้องทำเฉพาะหน้านี้ก็คือการรักษาประชาธิปไตย เบื้องต้นที่สุดก็คือไม่ยินยอม หรือไม่สมรู้ร่วมคิดกับการฉีกรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสภาวะสุญญากาศทางการเมืองด้วยการกดดันหรือบีบบังคับให้นายกฯและรัฐมนตรีทั้งคณะลาออก การตั้งรัฐบาลคนกลางหรือคนนอก การตั้งสภาประชาชน หรือการปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง

ยิ่งไปกว่านั้นยังต้องช่วยกันสร้างความเข้าใจให้คนส่วนใหญ่ในสังคมให้เห็นปัญหาใหญ่หลวงที่กำลังจะเกิดขึ้นและร่วมกันแก้ปัญหา ด้วยการปฏิเสธข้อเสนอที่ขัดกับหลักการประชาธิปไตยนี้ และร่วมกันเรียกร้องให้ทุกฝ่ายหันกลับมาหาทางออกด้วยกระบวนการและวิธีการที่เป็นประชาธิปไตย โดยเริ่มจากการยอมรับการเลือกตั้ง ยืนยันหลักการประชาธิปไตยและหลักนิติธรรม ยืนยันว่าเราต้องการสังคมที่เจริญก้าวหน้าและสงบสุข ไม่ใช่สังคมที่ล้าหลังและมีแต่ความรุนแรงและความสูญเสียไม่จบไม่สิ้น

แม้ว่าความพยายามนี้อาจจะไม่สามารถหยุดยั้งการกระทำของสุเทพกับพวกได้ แต่การทำให้คนส่วนใหญ่เข้าใจปัญหามากเท่าใด ก็จะยิ่งเป็นประโยชน์สำหรับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต่อเนื่องไปข้างหน้า

ส่งเสริมให้มีการรักษากฎหมายหรือบังคับใช้กฎหมายมากขึ้น เพื่อควบคุมและจำกัดการกระทำที่ผิดกฎหมายของสุเทพกับพวก ลดความเดือดร้อนเสียหายที่เกิดขึ้นกับประชาชน และเพื่อไม่ให้บ้านเมืองอยู่ในสภาพที่บริหารปกครองไม่ได้ ทั้งนี้ต้องพยายามหลีกเลี่ยงความรุนแรงและความสูญเสียให้ดีที่สุด

ระมัดระวังเงื่อนไข ป้องกัน และเตรียมต้านการรัฐประหาร การใช้ความอดทน อดกลั้น การหลีกเลี่ยงความรุนแรง เป็นการลดเงื่อนไขของการรัฐประหารได้อย่างหนึ่ง แต่ต้องช่วยกันชี้ให้สังคม โดยเฉพาะชนชั้นนำเห็นว่า การรัฐประหารไม่ใช่ทางออก แต่จะยิ่งนำความเสียหายมาสู่ประเทศชาติ และโดยเฉพาะชนชั้นนำเอง การรัฐประหารจะถูกปฏิเสธจากประชาคมโลก และที่สำคัญจะถูกต่อต้านจากประชาชนไทยเองอย่างกว้างขวาง และอาจจะรุนแรงกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา

หากมีการรัฐประหารเกิดขึ้น การต่อต้านคัดค้านคงจะเกิดขึ้นในทันที ไม่มีระยะฟักตัวหรือก่อตัว เพราะประชาชนได้สะสมความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์มามากมายตลอดเวลาหลายปีที่ผ่านมา

การห้ามไม่ให้มีการต่อต้านการรัฐประหารจะยากกว่าการที่จะพยายามให้มีการต่อต้านการรัฐประหารเสียอีก

แต่จะต้านการรัฐประหารกันอย่างไรจึงจะทำให้การพยายามทำรัฐประหารนั้นล้มเหลวกลายเป็นกบฏ หรือถ้ารัฐประหารสำเร็จ จะทำให้ได้ประชาธิปไตยกลับคืนมาโดยเร็วและได้ประชาธิปไตยจริงๆได้อย่างไร นี่เป็นสิ่งที่ต้องเตรียมการกันตั้งแต่บัดนี้แล้ว

ต้องร่วมกัประกาศจุดยืนที่ไม่ยอมรับฐานะรัฏฐาธิปัตย์ของกลุ่มรัฐประหาร เนื่องจากได้อำนาจมาโดยมิชอบ และรณรงค์ให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าร่วมกันต่อต้านคณะกบฏในทุกวิถีทางที่เป็นไปได้ รวมทั้งแข็งขืน การเป็นปฏิปักษ์ การบ่อนเซาะ และการทำลายการใช้อำนาจของฝ่ายกบฎ เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับคืนมาสู่ประชาชน ผู้เป็นเจ้าของอำนาจรัฏฐาธิปัตย์อย่างแท้จริง

อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น สภาพความขัดแย้งในสังคมไทยระหว่างฝ่ายประชาธิปไตยกับฝ่ายที่ไม่ต้องการประชาธิปไตย ซึ่งยังมีกำลังก้ำกึ่งกันคงจะดำรงอยู่ไปอีกนาน การรักษาประชาธิปไตยในกรอบกติกาที่มีอยู่ในปัจจุบันก็ทำได้อย่างจำกัด ในระยะเฉพาะหน้านี้ฝ่ายประชาธิปไตยกำลังถูกขีดวงให้สู้ในเกมที่ถูกกำหนดโดยอีกฝ่ายหนึ่งเสียเป็นส่วนใหญ่

ผมจึงคิดว่าการรักษาประชาธิปไตยและป้องกันการรัฐประหารภายใต้กรอบกติกาที่มีอยู่ในปัจจุบันคงไม่เพียงพอเสียแล้ว สถานการณ์อย่างนี้มีความจำเป็นต้องคิดและวางแผนทำสิ่งที่คู่ขนานไปกับการรักษาประชาธิปไตย นั่นคือ การสร้างประชาธิปไตย การทำให้บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง โดยไม่จำกัดตัวเองอยู่กับการแก้ปัญหาภายใต้กรอบกติกาที่อีกฝ่ายเป็นผู้กำหนด

ฝ่ายประชาธิปไตยต้องชี้ให้เห็นว่า สิ่งที่ชนชั้นนำกำลังทำอยู่นี้มีต้นทุนมหาศาล คือเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ภาวะอนาธิปไตย ความล้าหลัง และที่สำคัญที่สุดคือความเสื่อมทรามของระบบการปกครอง รวมทั้งสถานะ ความมั่นคง และความน่าเชื่อถือของชนชั้นนำเอง

การเดินไปข้างหน้าตามทิศทางที่ชนชั้นนำกำลังกำหนดจึงไม่มีอนาคตแต่อย่างใดเลย

สิ่งที่ควรทำคือ การสร้างความเข้มแข็งของพลังประชาธิปไตย แสวงหาความร่วมมืออย่างกว้างขวาง ร่วมกันคิดหาทางออกให้กับสังคมไทย วางแผนสร้างกฎกติกาที่เป็นประชาธิปไตยให้เกิดขึ้น ด้วยกระบวนการที่เป็นประชาธิปไตย ใช้ระบบกติกาที่เป็นประชาธิปไตยและเป็นไปตามหลักนิติธรรมนั้นไปสร้างสังคมที่สงบสุข ผู้คนที่แตกต่างกันในทางการเมืองสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ และร่วมกันสร้างสังคมที่เจริญก้าวหน้า

การเตรียมการเพื่อสร้างประชาธิปไตยนี้ไม่ต้องรอให้การยื้อกันเพื่อรักษาประชาธิปไตยในรอบนี้จบไปเสียก่อน หรือรอให้มีการรัฐประหารเกิดขึ้นเสียก่อนจึงค่อยมาคิดอ่านกัน แต่ควรเริ่มได้เลยในทันที

พลังประชาธิปไตยมีมากมายมหาศาล พรั่งพร้อมด้วยความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ ที่สำคัญคือเต็มเปี่ยมไปด้วยจิตวิญญาณ ศรัทธา และความเชื่อมั่น

การต่อสู้เพื่อรักษาประชาธิปไตยในเกมที่ฝ่ายชนชั้นนำกำหนดและเป็นผู้ตัดสินแพ้ชนะ แม้จะพยายามทำกันเต็มความสามารถแล้วก็ยังทำอะไรได้อย่างจำกัด ประชาชนจึงจำเป็นต้องเป็นฝ่ายกำหนดเกมของการต่อสู้ขึ้น ซึ่งจะพบว่าประชาชนก็ยังมีกำลังสติปัญญาและมีพลังอีกมากมายเพียงพอที่จะมาร่วมกันคิดถึงการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในวิถีทางและวิธีการที่ประชาชนเราจะเป็นผู้กำหนดกันขึ้น

การไม่จำกัดตัวเองอยู่ในเกมที่ถูกอีกฝ่ายเป็นผู้กำหนด ย่อมเป็นการต่อสู้ที่ไม่มีขีดจำกัด และสามารถขยายตัวเติบโตไปได้อย่างต่อเนื่อง จนสามารถร่วมกันสร้างประชาธิปไตยให้เกิดขึ้นได้

มหากาพย์การเมืองไทยในทศวรรษสองทศวรรษนี้เป็นเรื่องยืดเยื้อ เต็มไปด้วยปัญหา ความขัดแย้ง และความสูญเสีย แต่ขณะเดียวกันก็มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ก้าวหน้าดีงามได้เหมือนกัน บทสรุปสุดท้ายจะเป็นอย่างไรก็ขึ้นอยู่กับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศนี้

อยากให้บทสรุปสุดท้ายของมหากาพย์การเมืองในทางความเป็นจริงเป็นอย่างไร ต้องเริ่มคิดและลงมือทำกันตั้งแต่บัดนี้ครับ

Chaturon Chaisang · 55,481 like this

January 7 at 12:20am ·

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย: สิ่งที่ชนชั้นนำอำมาตย์ต้องการจะเกิดขึ้นได้มีเพียงทางเดียวคือต้องรัฐประหาร

แต่ปัญหาคือจริงๆแล้ว พวกเขาจะได้อะไร
(
ตอนที่ 4)

เมื่อลำดับเหตุการณ์ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าสิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้องการ จะเกิดขึ้นได้ก็มีเพียงทางเดียว คือต้องรัฐประหารเท่านั้น

ด้วยเหตุผลโดยสรุปคือ

1.การแก้รัฐธรรมนูญโดยรัฐสภาถูกปิดกั้นไปหมดแล้ว
2.
การปฏิรูปประเทศที่สุเทพกับพวกเสนอมีเนื้อหาที่ล้าหลังยิ่งกว่ารัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบันนี้อีกมาก และไม่ได้เสนอให้ปฏิรูปโดยวิถีทางในระบบรัฐสภา
3.
การเคลื่อนไหวของสุเทพกับพวกจงใจสร้างเงื่อนไขให้เกิดการรัฐประหารอย่างชัดเจน
4.
การลงดาบขององค์กรอิสระจะทำให้รัฐบาลทรุดลง แต่ก็ยังไม่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนขั้วได้ในทันที และไม่สามารถสร้างระบบที่มีหลักประกันว่าอำนาจจะอยู่ในมือชนชั้นนำและ อำมาตย์ได้อย่างสมบูรณ์

ถ้าสถานการณ์พัฒนาต่อไปในทิศทางที่เป็นอยู่ ก็ดูเหมือนจะหนีไม่พ้นการรัฐประหาร

เราเห็นบทบาทของผู้นำกองทัพมาแล้วในแต่ละช่วงแต่ละตอนของความขัดแย้งทางการ เมืองที่ผ่านมา ในรอบนี้บทบาทของผู้นำกองทัพก็ไม่ได้ซับซ้อนซ่อนเงื่อนอะไร

ผู้นำกองทัพเริ่มต้นด้วยบอกว่าต้องวางตัวเป็นกลาง ซึ่งก็เหมือนที่รัฐบาลสมัครและรัฐบาลสมชายเคยเจอมาแล้ว ต่อมาก็แสดงท่าทีขึงขังเหมือนกับจะไม่เอากับสุเทพกับพวกเสียแล้ว ทั้งยังประกาศด้วยว่าการรัฐประหารทำไม่ได้แล้ว เพราะจะเกิดความเสียหายตามมา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนไปอีก คือให้ความร่วมมือกับรัฐบาลแบบจำกัดมาก จนกระทั่งในที่สุดก็บอกว่าไม่ปิดไม่เปิดประตูปฏิวัติรัฐประหาร

ล่าสุดบอกว่าไม่ยืนยันว่าจะไม่ปฏิวัติ

ประวัติศาสตร์การเมืองไทยสอนเราว่าแม้ผู้นำกองทัพจะประกาศว่าจะไม่ทำรัฐ ประหารอย่างแน่นอน หลังจากนั้นไม่นานก็กลับทำรัฐประหาร แล้วนับประสาอะไรกับเมื่อผู้นำกองทัพประกาศว่าไม่ปิดไม่เปิดประตูปฏิวัติรัฐ ประหารเล่า โอกาสที่จะเกิดรัฐประหารจะไม่ยิ่งเพิ่มขึ้นอีกมากหรือ

ถ้าจะเปรียบเทียบกับการรัฐประหารในอดีต จะพบว่าเวลานี้ก็ใกล้จะครบเงื่อนไขที่จะเกิดการรัฐประหารเข้าไปทุกทีแล้ว

เรื่องคอรัปชั่นนั้นอาจจะยกขึ้นมาได้บ้าง แต่ไม่มีน้ำหนัก เพราะองค์กรที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการคอรัปชั่นทั้งหลายก็มาจากฝ่ายตรงข้ามกับ รัฐบาลอยู่แล้ว

ส่วนเรื่องคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่มักใช้เป็นข้ออ้าง ถึงแม้ไม่มีกรณีใดที่อ้างได้อย่างเป็นจริงเป็นจัง แต่ก็มีการนำเอาเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริย์มาใช้โจมตีกล่าวหาฝ่ายรัฐบาล กันอย่างหนักมาโดยตลอด

เรื่องที่น่าจะถูกใช้เป็นข้ออ้างมากที่สุดในคราวนี้ก็คือ สภาพที่กฎหมายไม่เป็นกฎหมาย บ้านเมืองอยู่ในสภาพที่ปกครองบริหารไม่ได้ เกิดความขัดแย้งรุนแรงและสูญเสียมากขึ้น จนจำเป็นที่กองทัพต้องเข้าแทรกแซง

บ้านเมืองนี้มีการใช้หลักเหตุผลที่แปลกประหลาดอยู่ว่า สำหรับรัฐบาลที่เป็นที่ยอมรับสนับสนุนของชนชั้นนำและอำมาตย์ ผู้นำกองทัพจะช่วยรัฐบาลรักษากฎหมายหรือแม้แต่ทำเกินกว่ากฎหมายจนถึงขั้น ปราบประชาชนก็ได้

แต่สำหรับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน เมื่อมีปัญหาจากการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าจะเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายอย่างร้ายแรงเพียงใดก็ตาม ผู้นำกองทัพก็จะ วางตัวเป็นกลาง

แล้วก็มีหลักเหตุผลต่อไปว่าหากมีความรุนแรงเกิดขึ้น รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งจะต้องรับผิดชอบ

สำหรับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง จะตกเป็นเป้านิ่ง เนื่องจากสังคมเกิดสภาพที่แยกแยะไม่ได้ระหว่างการรักษากฎหมายกับการใช้ความ รุนแรง เจ้าหน้าที่รักษากฎหมายถูกมองว่าใช้ความรุนแรงอยู่ฝ่ายเดียว และเมื่อเกิดความรุนแรงและความสูญเสียขึ้น รัฐบาลก็ต้องรับผิดชอบ

จะเห็นว่าด้วยตรรกะเหตุผลแบบนี้ การเคลื่อนไหวของสุเทพกับพวกจึงสร้างความเสียหายได้อย่างไม่มีขีดจำกัดโดย ไม่ต้องเกรงกลัวต่อกฎหมาย สร้างเงื่อนไขให้ผู้นำกองทัพอ้างเป็นเหตุในการยึดอำนาจได้มากขึ้นเรื่อยๆ

แต่ปัญหาคือเมื่อรัฐประหารแล้วชนชั้นนำและอำมาตย์ก็จะไม่ได้สิ่งที่ต้องการอยู่ดี

การรัฐประหารจะไม่เป็นที่ยอมรับจากประชาคมโลก จะเกิดความเสียหายต่อประเทศอย่างรุนแรง

สิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้องการนั้นคือ ระบบการปกครองที่การเลือกตั้งจะไม่มีความหมาย ประชาชนไม่มีสิทธิมีเสียงที่จะกำหนดให้ใครเป็นรัฐบาล ไม่สามารถเลือกได้ว่าอยากได้นโยบายอย่างไรในการบริหารประเทศ ที่มาและการดำรงอยู่ของรัฐบาลจะขึ้นกับชนชั้นนำและอำมาตย์ ไม่ขึ้นกับประชาชน

นี่คือระบบที่ล้าหลัง เคยใช้มาแล้วเมื่อหลายสิบปีก่อน

แล้วประชาชนไทยที่ผ่านการเรียนรู้ถึงคุณค่าของประชาธิปไตย ความหมายของการเลือกตั้ง ประโยชน์ของการแข่งขันทางการนโยบายของพรรคการเมืองจะยอมหรือ

ถ้าประชาชนจำนวนมากลุกขึ้นมาต่อต้านการรัฐประหารและระบบที่จะถูกสร้างขึ้นหลังการรัฐประหาร ผู้นำกองทัพจะปราบไหวหรือ

ปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่งที่จะตามมาคือ ชนชั้นนำและอำมาตย์รวมถึงผู้นำกองทัพจะเอาสุเทพกับพวกไปไว้ไหน และจะจัดการกับพวกนี้อย่างไร

สุเทพกับพวกได้เติบใหญ่มีอิทธิฤทธิ์จนใครก็คุมไม่อยู่แล้ว ระบบการปกครองที่จะสร้างขึ้นใหม่ รัฐบาลใหม่ที่จะตั้งกันขึ้นมา จะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ไม่ต้องถามสุเทพกับพวกบ้างหรือ แน่ใจแล้วหรือว่าจะตรงกัน

ปัญหาใหญ่ยิ่งขึ้นไปอีกก็คือ หากการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นเป็นเพราะสุเทพกับพวก หรือต้องเป็นไปตามความต้องการของสุเทพกับพวก ก็จะกลายเป็นบรรทัดฐานว่าหากใครต้องการเปลี่ยนแปลงบ้านเมือง ก็ให้ใช้วิธีเดียวกันกับสุเทพและพวกคือ ใช้วิธีการนอกระบบ ผิดกฎหมายอย่างร้ายแรงตามอำเภอใจ หรือใช้กำลังและความรุนแรง

เมื่อรัฐประหารแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นจะไม่ใช่สิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้อง การ สังคมไทยจะอยู่ในสภาพที่ใครก็คุมไม่ได้ อยู่กันไม่เป็นสุข ขัดแย้งรุนแรงไม่สิ้นสุด ประเทศจะบอบช้ำไปอีกนาน

นี่คือสิ่งที่ชนชั้นนำ อำมาตย์ และผู้นำกองทัพต้องการให้เกิดขึ้นแน่หรือ.

Chaturon Chaisang 
January 4

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย : สิ่งที่ชนชั้นนำอำมาตย์ต้องการจะเกิดขึ้นได้มีเพียงทางเดียวคือต้องรัฐประหาร

สารพัดดาบจากองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ แต่ก็อาจไม่พอตอบโจทย์ที่ยากขึ้น
(
ตอนที่ 3)

ระหว่างที่ผู้คนกำลังสนใจการเคลื่อนไหวของสุเทพกับพวกอยู่นั้น องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญก็กำลังเตรียมลงดาบสารพัด

ดูจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) ซึ่งกำลังเป็นข่าวเกรียวกราวก่อนก็ได้

ขณะที่สุเทพกับพวกขัดขวางการเลือกตั้งอย่างบ้าระห่ำ พรรคประชาธิปัตย์ก็บอยคอตการเลือกตั้งอีกครั้ง พร้อมประกาศเข้าร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับ มวลมหาประชาชน

ถ้าดูจากผู้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวที่สามารถทำผิดกฎหมายได้อย่างไม่มีขีดจำกัดก็ดี หรือดูจากพื้นที่ที่มีการขัดขวางการสมัครรับเลือกตั้งอย่างรุนแรงและได้ผลก็ดี จะเห็นว่าการเคลื่อนไหวทั้งหมดก็คือ การย้ายเวทีของพรรคประชาธิปัตย์จากในรัฐสภาและระบบเลือกตั้งที่พวกตนแพ้มาตลอด ไปสู่การเคลื่อนไหวต่อสู้นอกสภาที่ต้องการนำไปสู่การล้มรัฐบาล และเปลี่ยนระบบการปกครองเพื่อให้พวกตนได้อำนาจนั่นเอง

จากการที่พรรคปชป.ได้เปิดเผยตนเองอย่างไม่ละอายครั้งใหญ่ที่สุดว่าพร้อมที่จะทำทุกอย่าง แม้แต่การทำลายประชาธิปไตยให้ย่อยยับไป เพียงเพื่อให้ได้อำนาจเท่านั้น พรรคประชาธิปัตย์จึงหมดความเป็นที่ยอมรับในสายตาชาวโลกไปเรียบร้อยแล้ว และกำลังสูญเสียความเป็นที่ยอมรับจากสังคมประชาธิปไตยในประเทศไทยยิ่งกว่าครั้งใดๆ แต่ก็ไม่น่าเชื่อที่พรรคประชาธิปัตย์กลับได้รับการให้เกียรติ ให้ความสำคัญอย่างมากจากกกต.ชุดใหม่นี้

แทนที่กกต.ซึ่งเพิ่งเข้ามารับหน้าที่กันใหม่ๆ จะพยายามหาทางให้มีการรับสมัครให้ได้อย่างจริงจัง ก็เกิดมีทีท่าว่าอยากจะให้รัฐบาลเลื่อนการเลือกตั้งออกไป อ้างว่าเลือกตั้งไปแล้วบ้านเมืองก็ไม่สงบ

เมื่อมีการขัดขวางการรับสมัครในบางจังหวัดในภาคใต้จนไม่สามารถเปิดรับสมัครได้ กกต.บอกว่าต้องมีการเจรจาหารือกับผู้ที่เกี่ยวข้อง มีพรรคการเมืองส่งผู้สมัครทั้งหมด 53 พรรค แต่พรรคที่กกต.บางคนให้ความสำคัญเป็นพิเศษกลับเป็นพรรคปชป. ราวกับว่าปชป.เป็นพรรคการเมืองที่ทรงอิทธิพลเสียเหลือเกิน ใครจะทำอะไรกันต่อไป ต้องให้พรรคประชาธิปัตย์เห็นชอบด้วยเสียก่อน

ยังดีที่มีผู้คนออกมาวิพากษ์วิจารณ์บทบาทของกกต.กันมาก จนกกต.ไม่กล้าดึงดันที่จะเลื่อนวันเลือกตั้งออกไป แต่กกต.ก็ยังไม่แสดงความพยายามที่จะจัดให้มีการรับสมัครให้ครบทุกเขต ซึ่งหมายความว่าถ้ามีการเลือกตั้งทั้งๆที่ยังขาดผู้สมัครอีกหลายเขตอย่างนี้ ประกาศผลการเลือกตั้งแล้วก็ยังเปิดประชุมสภาไม่ได้

กกต.บางคนยังแสดงความไม่แน่ใจว่า การเลือกตั้งจะช่วยแก้ปัญหาความขัดแย้งในบ้านเมืองได้ ตราบใดที่กกต.ทั้งคณะยังไม่แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาเชื่อถือต่อความสำคัญของการเลือกตั้งแล้ว ตราบนั้นก็ยังไม่มีหลักประกันเลยว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับการเลือกตั้ง

กกต.จะทำอย่างไรกับการรับสมัคร และจะทำอย่างไรเมื่อมีการขัดขวางการใช้สิทธิ์ของประชาชนในวันเลือกตั้ง ยังเป็นเรื่องที่ต้องติดตามกันต่อไป

องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญเคยล้มการเลือกตั้งมาแล้ว และล้มรัฐบาลในอดีตมาแล้ว คราวนี้จะทำอะไรได้แค่ไหน

เห็นข่าวว่าคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.)ใกล้จะตัดสินชี้มูลความผิดเกี่ยวกับกรณีโครงการจำนำข้าวซึ่งไม่ทราบว่าจะเกี่ยวโยงถึงใครบ้างในครม. หากชี้มูลถึงรัฐมนตรีคนใดที่ยังอยู่ในหน้าที่ รัฐมนตรีคนนั้นก็ต้องพักการปฏิบัติหน้าที่ เรื่องนี้จะกระทบรัฐบาลเพียงใดจึงยังไม่ทราบได้ แต่ที่แน่ๆคือ ไม่สามารถทำให้ครม.ทั้งคณะหยุดปฏิบัติหน้าที่ได้

ในเร็วๆนี้ศาลรัฐธรรมนูญจะวินิจฉัยกรณีการแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ซึ่งอาจจะวินิจฉัยออกมาว่าขัดรัฐธรรมนูญมาตรา 68 อีกก็ได้ ถ้าเป็นอย่างนั้นผลที่ตามมาก็จะคล้ายกับกรณีที่มาสว. นั่นคือ จะมีคนไปร้องปปช. และปปช.ก็จะทำการไต่สวนและชี้มูลความผิด แล้วส่งไปให้วุฒิสภาถอดถอนสส. สว.ที่สนับสนุนร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนั้นอีกรอบหนึ่ง

เรื่องที่ไม่ควรมองข้ามไปเสียทีเดียวก็คืออาจมีการใช้กรณีนี้หรือกรณีการแก้มาตรา 68 ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาต่อไปในไม่ช้า เพื่อลงดาบยุบพรรคการเมืองที่เกี่ยวข้องไปเลยก็ได้ ถ้าเป็นอย่างนั้น ก็จะกระทบต่อการเลือกตั้งอย่างรุนแรง

หลังจากนั้นปปช.ก็อาจจะชี้มูลสส. สว. 300 กว่าคนที่ร่วมกันแก้ไขรัฐธรรมนูญ ว่ามีความผิด สว.ที่ถูกชี้มูลจะถูกพักการปฏิบัติหน้าที่ จะเหลือสว.ปฏิบัติหน้าที่อยู่ต่อไปไม่ถึง 90 คน

มีการพูดกันหนาหูว่าอาจจะมีการตีความว่าในการประชุมวุฒิสภา จะไม่นับผู้ที่ถูกพักการปฏิบัติหน้าที่เป็นจำนวนสมาชิกที่เหลืออยู่ องค์ประชุมจะนับเฉพาะผู้ที่ไม่ถูกพักการปฏิบัติหน้าที่ และในการถอดถอนผู้ที่ปปช.ชี้มูลส่งมาให้ถอดถอน ก็จะใช้จำนวน 3 ใน 5 ของสมาชิกที่ไม่ถูกพักการปฏิบัติเท่านั้น

ถ้าเป็นอย่างนั้นทั้งประธาน 2 คนและสมาชิกรัฐสภาอีก 300 กว่าคนก็คงถูกถอดถอนได้โดยไม่ยาก และนั่นย่อมส่งผลกระทบต่อการเลือกตั้งอย่างรุนแรงคล้ายกันกับการยุบพรรคเพราะจะทำให้ผู้สมัครขาดคุณสมบัติไปจำนวนมาก หลายเขตเลือกตั้งอาจจะไม่เหลือผู้่สมัครอยู่เลย การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นก็จะล้มไปก่อนถึงวันเลือกตั้ง ดุลกำลังของพรรคการเมืองก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก

ที่อธิบายมานี้ไม่ใช่จินตนาการเอาเองตามใจชอบ แต่เป็นการวิเคราะห์จากสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ ทั้งจากพฤติกรรม การตีความ และการบังคับใช้กฎหมายขององค์กรที่เกี่ยวข้อง แต่ที่พูดมาทั้งหมดนั้นเกี่ยวกับสิ่งที่องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญอาจจะลงดาบนี้

มีข้อสังเกตที่ควรกล่าวถึงไว้คือ

ในการที่ปปช.พิจารณาเรื่องโครงการรับจำนำข้าวนั้น หากว่าไปตามเนื้อผ้า ไม่ฉวยโอกาสตามกระแสการเมือง ก็ต้องถือว่าเป็นการทำตามหน้าที่ สังคมคงรับได้ สิ่งที่ตามมาก็คือ ย่อมส่งผลกระทบต่อรัฐบาลและเพิ่มประเด็นให้กับสุเทพกับพวกมากขึ้นไปอีก

การที่ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระลงดาบไปบ้างแล้วก็ดี จะลงดาบอีกก็ดีนั้น เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งจริงๆแล้วการลงดาบนี้ล้วนแล้วแต่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญมาตั้งแต่ต้น กล่าวคือ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งๆที่ไม่มีอำนาจ การวินิจฉัยว่าร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญขัดรัฐธรรมนูญเพราะแตกต่างจากรัฐธรรมนูญ ก็ผิดทั้งในเรื่องตรรกะและเหตุผล การฟ้องร้องสมาชิกรัฐสภาที่อภิปรายและลงมติในสภาทั้งๆที่เขามีเอกสิทธิ์คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญก็เท่ากับขัดรัฐธรรมนูญอีก สิ่งที่องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญกำลังจะทำกันอยู่นี้จึงเป็นการลุแก่อำนาจ ไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรมแต่อย่างใดทั้งสิ้น

เมื่อไล่เรียงสิ่งที่องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญจะลงดาบแล้วจะพบว่าทำให้เกิดความเสียหายต่อฝ่ายรัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาลได้มาก ขณะเดียวกันก็จะเพิ่มน้ำหนักให้กับสุเทพกับพวกด้วย แต่ก็จะพบว่าแม้จะลงดาบตามอำเภอใจอย่างไร ก็จะยังไม่สามารถล้มการเลือกตั้งได้ง่ายๆ ไม่สามารถทำให้เกิดรัฐบาลคนกลางหรือสภาประชาชนขึ้นได้

ไม่ว่าจะลงดาบอย่างไรก็จะยังไม่สามารถกำหนดว่าใครจะเป็นรัฐบาลได้เหมือนคราวที่ล้มรัฐบาลสมชาย แล้วให้อภิสิทธิ์ขึ้นมาเป็นรัฐบาลแทน ยิ่งขณะนี้ยุบสภาแล้วและกำลังจะมีการเลือกตั้ง แต่พรรคปชป.ไม่ได้ลงสมัคร จะจัดการกับพรรคการเมืองและนักการเมืองที่ลงสมัครอย่างไร พรรคปชป.ก็ไม่สามารถมาเป็นรัฐบาลได้

ที่สำคัญกว่านั้นคือไม่ว่าจะลงดาบอย่างไรก็ยังไม่มีหลักประกันว่าชนชั้นนำและอำมาตย์จะสามารถกำหนดได้ว่าจะให้ใครเป็นรัฐบาลตามใจชอบ

ยิ่งการลงดาบตามอำเภอใจนี้เป็นการฉวยโอกาสตามกระแสที่คำนึงแต่ถึงผลประโยชน์ทางการเมืองโดยไม่แยแสต่อหลักการประชาธิปไตยและหลักนิติธรรม เมื่อทำไปแล้วการคัดค้านต่อต้านก็จะยิ่งแรง พรรคการเมืองและนักการเมืองที่ถูกทำลายไปอย่างไม่ยุติธรรมก็จะยิ่งได้รับความเห็นอกเห็นใจจากประชาชน ที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้องการกำหนดว่าจะให้ใครเป็นรัฐบาลก็จะยิ่งไม่ได้ผลตามที่ต้องการ

สิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้องการนั้นไม่ใช่แค่เปลี่ยนรัฐบาล แต่ต้องการเปลี่ยนระบบ ซึ่งเป็นโจทย์ที่ยากขึ้นมาก แม้องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญจะมีอิทธิฤทธิ์มากมายเพียงใด ก็ไม่สามารถตอบสนองความต้องการทั้งหมดนั้นได้เสียแล้ว

ถ้าชนชั้นนำและอำมาตย์ยังดำรงจุดมุ่งหมายของตนจริงๆ ก็ต้องติดตามกันต่อไปว่านอกจากการเคลื่อนไหวของสุเทพกับพวก และการลงดาบขององค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังต้องให้ใครทำอะไรไปอีก นอกจาก “ทำรัฐประหาร”

Chaturon Chaisang

January 4

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย : สิ่งที่ชนชั้นนำอำมาตย์ต้องการจะเกิดขึ้นได้มีเพียงทางเดียวคือต้องรัฐประหาร 

สุเทพกับพวก ชนชั้นนำ และอำมาตย์ต้องการอะไรกันแน่
(
ตอนที่ 2)

เมื่อแก้รัฐธรรมนูญไม่ได้แล้ว ใครที่สนใจอยากให้บ้านเมืองเป็นประชาธิปไตยก็คงพากันคิดว่า แย่แล้วที่จะต้องอยู่กับการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตย และไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรมเช่นนี้ไปอีกนาน

แต่สุเทพกับพวกได้ทำให้ใครที่คิดเช่นนั้นต้องสรุปใหม่ว่าคิดผิดถนัด

ยังมีแย่กว่านั้นอีกมาก

สุเทพกับพวกลาออกจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมานำการเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมายอย่างร้ายแรง ชนิดที่ไม่กลัวเกรงต่อกฎหมายเลยแม้แต่น้อย

ทันทีที่สุเทพกับส..พรรคประชาธิปัตย์หลายคนลาออกพร้อมๆกัน มาเคลื่อนไหวบนถนน คอการเมืองก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าจะต้องเป็นเรื่องใหญ่แน่

หลายคนนึกถึงการที่พรรคประชาธิปัตย์เคยบอยคอตการเลือกตั้งเมื่อปี 2549 ทันที การบอยคอตครั้งนั้นเป็นเรื่องใหญ่มาก แต่ต่อมาก็พิสูจน์ให้เห็นทั่วกันว่าที่พรรคประชาธิปัตย์กล้าบอยคอตการเลือกตั้ง ก็เพราะรู้ล่วงหน้าอยู่แล้วว่าต่อไปข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้น

แล้วก็เกิดอย่างนั้นจริงๆ

ในคราวนี้ ยิ่งพอพรรคประชาธิปัตย์พร้อมใจกันลาออกจากการเป็นส..ทั้งพรรค ก็ยิ่งชัดเจนว่าเรื่องใหญ่กำลังจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

การเคลื่อนไหวของสุเทพกับพวกนั้น ไม่ใช่ต้องการเพียงแค่ล้มรัฐบาล แต่ยังมีข้อเสนอให้ตั้งรัฐบาลประชาชน ตั้งสภาประชาชน และให้มีการปฏิรูปประเทศด้วย

มีการเปิดเผยองค์ประกอบและที่มาของสภาประชาชน ซึ่งก็เห็นได้ชัดว่าเป็นสภาเผด็จการ ชัดๆ แล้วยังมีการเสนอว่าหลัก หนึ่งคน หนึ่งเสียงเท่ากันนั้นใช้ไม่ได้สำหรับเมืองไทย ตั้งแต่ปฏิเสธระบบเลือกตั้ง และระบบพรรคการเมืองอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และเสนอให้ใช้ระบบใหม่แทน

สิ่งที่สุเทพกับพวกกำลังพยายามให้เกิดขึ้นก็คือ ระบบการปกครองที่ไม่ต้องการให้ประชาชนมีอำนาจปกครองประเทศ แต่ต้องเป็นระบบที่ชนชั้นนำและอำมาตย์มีอำนาจเบ็ดเสร็จในการกำหนดว่าใครจะเป็นผู้บริหารปกครองประเทศนั่นเอง

ความจริงสิ่งที่สุเทพกับพวกต้องการให้เกิดขึ้นไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่คือสิ่งที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ต้องการให้เกิดขึ้นตั้งแต่หลังการรัฐประหารเมื่อปี 2549 แต่ยังไม่เกิดเป็นจริงขึ้น เมื่อผ่านความผันผวน พลิกไปพลิกมาของสถานการณ์ในหลายปีมานี้ ชนชั้นนำและอำมาตย์ก็คงตกผลึกทางความคิดได้แล้วว่า ถึงเวลาที่ต้องทำให้สิ่งที่ต้องการมานานแล้วเป็นจริงเสียที

แต่ปัญหามีอยู่ว่า ศาลรัฐธรรมนูญเพิ่งสรุปไปหยกๆว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้แก้ไม่ได้แล้วไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ แล้วจะปฏิรูปประเทศอย่างที่สุเทพกับพวกเสนอได้อย่างไร

หากจะปฏิรูปประเทศ ย่อมต้องแก้กฎหมายและแก้รัฐธรรมนูญ แต่เมื่อการแก้รัฐธรรมนูญโดยรัฐสภาก็ทำไม่ได้แล้ว การจะปฏิรูปประเทศได้ก็ย่อมหนีไม่พ้นการฉีกรัฐธรรมนูญ

ยิ่งเมื่อนายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภาและให้มีการเลือกตั้งใหม่ จะแก้กฎหมายอะไรก็ทำไม่ได้แล้ว ข้อเสนอของสุเทพกับพวกที่ให้ปฏิรูปก่อนการเลือกตั้งก็ยิ่งไม่อาจเป็นไปได้ตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้

วิธีการที่สุเทพกับพวกใช้อยู่คือ การเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมายต่างๆนานา สร้างความเสียหายแก่บ้านเมือง และบีบบังคับให้เจ้าหน้าที่ราชการต้องบังคับใช้กฎหมาย หากไม่บังคับใช้กฎหมาย ก็จะเกิดความเสียหายใหญ่หลวงและถูกตำหนิว่าไม่ทำหน้าที่ ปล่อยให้บ้านเมืองอยู่ในสภาพที่กฎหมายไม่เป็นกฎหมาย แต่ถ้าบังคับใช้กฎหมายก็จะเกิดการปะทะ กลายเป็นความรุนแรงและเกิดความสูญเสียขึ้น ทั้งหมดนี้เพื่อให้บ้านเมืองอยู่ในสภาพ อนาธิปไตยเป็นสภาพที่บริหารปกครองไม่ได้ หรือที่เรียกว่าเป็น “รัฐล้มเหลว” นั่นเอง

หลังจากขัดขวางการเลือกตั้งอยู่จนผู้ที่ต้องการสมัครรับเลือกตั้งในหลายจังหวัดในภาคใต้ยังไม่สามารถสมัครได้แล้ว ล่าสุดสุเทพก็ประกาศจะปิดกรุงเทพฯเป็นสัปดาห์ๆอีก

การปิดกทม.ย่อมจะทำให้สถานการณ์ยิ่งตึงเครียดขึ้นอีก จะเกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจและภาพพจน์ของประเทศอย่างประมาณมิได้ บีบให้รัฐบาลต้องบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งก็เกิดความเสี่ยงที่จะเกิดการปะทะกัน และกลายเป็นความรุนแรงสูญเสียเพิ่มขึ้น

ยิ่งรุนแรงและสูญเสียมาก ก็จะยิ่งเป็นข้ออ้างให้เกิดการรัฐประหารได้

ไม่ว่าจะเป็นความรุนแรงและความสูญเสียชีวิตและเลือดเนื้อ หรือเกิดสภาพความเป็นรัฐล้มเหลว ก็สามารถถูกใช้เป็นข้ออ้างในการทำรัฐประหารได้ทั้งสิ้น

มีความพยายามที่จะทำให้สิ่งที่สุเทพกับพวกต้องการให้เกิดขึ้นโดยกระบวนการทางรัฐธรรมนูญอยู่เหมือนกัน นั่นคือ การบีบบังคับให้นายกฯและรัฐมนตรีทั้งคณะลาออกเพื่อสร้างเงื่อนไขให้เกิดการใช้มาตรา 3 และมาตรา 7 ของรัฐธรรมนูญเพื่อตั้งรัฐบาลคนกลางและตั้งสภาประชาชน แต่ช่องทางนี้ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ครม.ต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป การจะลาออกทั้งคณะย่อมเป็นการจงใจฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ การลาออกทั้งคณะจึงไม่อาจเกิดขึ้นได้

ความจริงแล้วหากไม่มีการตีความรัฐธรรมนูญกันตามใจชอบแล้ว การตั้งรัฐบาลคนกลางหรือสภาประชาชนไม่มีทางจะเกิดขึ้นได้ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้เลย หากมีการดันทุรังให้เกิดขึ้นจริง ก็ไม่แตกต่างจากการฉีกรัฐธรรมนูญแต่อย่างใด สิ่งที่จะตามมาอย่างแน่นอนก็คือ การคัดค้านต่อต้านจากฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย จนเกิดเป็นความขัดแย้งที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นไปอีก และนั่นก็คือความเสี่ยงที่จะเกิดการรัฐประหารได้อีก

วิเคราะห์จากสิ่งที่สุเทพกับพวกเสนอและวิธีการที่พวกเขาใช้อยู่แล้ว จะเห็นว่าสิ่งที่พวกเขาต้องการจะเกิดขึ้นได้ก็มีแต่จะต้องเกิด “รัฐประหาร” เท่านั้น

Chaturon Chaisang

January 4

ถอดรหัสมหากาพย์การเมืองไทย : สิ่งที่ชนชั้นนำอำมาตย์ต้องการจะเกิดขึ้นได้มีเพียงทางเดียวคือต้องรัฐประหาร

แต่ปัญหาคือ … ?

ก่อนจะมาถึงการแสดงอิทธิฤทธิ์ของสุเทพ เทือกสุบรรณ
(
ตอนที่ 1)

ตั้งแต่ก่อนรัฐประหารปี 2549 มาจนถึงปัจจุบัน กระบวนการที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ใช้จัดการกับรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและระบอบประชาธิปไตย อาศัยเครื่องมือหลักๆอยู่ 3 อย่างคือ (1). การเคลื่อนไหวบนถนนที่ไม่เกรงกลัวต่อกฎหมาย และสามารถทำผิดกฎหมายได้อย่างไม่มีขีดจำกัด (2).ฝ่ายตุลาการและองค์กรอิสระ และ (3). ผู้นำกองทัพ

ในแต่ละครั้งที่มีการล้มรัฐบาลที่ผ่านๆมา พูดได้ว่ามีการใช้เครื่องมือทั้งสามชนิดนี้ เพียงแต่ในแต่ละช่วงอาจให้น้ำหนักเครื่องมือแต่ละชนิดไม่เท่ากัน

ก่อนการรัฐประหารปี 2549 มีการเคลื่อนไหวของพันธมิตรฯกดดันจนรัฐบาลในขณะนั้นจนต้องยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ มีการบอยคอตการเลือกตั้ง ขัดขวางการเลือกตั้ง เมื่อการเลือกตั้งผ่านไปได้ ก็ใช้ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ ต้องกำหนดวันเลือกตั้งกันใหม่ แล้วในที่สุดก็เกิดการรัฐประหารขึ้น ล้มทั้งรัฐบาลและระบอบประชาธิปไตยไปพร้อมกัน

คณะรัฐประหารได้ตั้งคณะตุลาการรัฐธรรมนูญขึ้นมาคณะหนึ่งพิจารณาตัดสินยุบพรรคไทยรักไทย ซึ่งเป็นพรรคที่ชนะการเลือกตั้งก่อนหน้านั้น ด้วยข้อหากระทำการให้ได้อำนาจการปกครองด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ และได้อาศัยคำสั่งของคณะรัฐประหารตัดสินให้มีผลย้อนหลังไปเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของกรรมการบริหารพรรคทั้งหมด 111 คน เพื่อไม่ให้สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งในครั้งต่อจากนั้นได้

คณะรัฐประหารได้ร่างรัฐธรรมนูญกันขึ้นเอง ซึ่งเป็นการวางระบบการปกครองใหม่ เพื่อให้แน่ใจว่าอำนาจอธิปไตยต้องไม่เป็นของประชาชน ชนชั้นนำและอำมาตย์จะต้องเป็นผู้กำหนดได้ว่าใครจะเป็นรัฐบาล และกำหนดได้ด้วยว่าจะให้รัฐบาลหนึ่งๆอยู่ได้นานเท่าใด

แต่ผลการเลือกตั้งกลับปรากฏว่าพรรคประชาธิปัตย์ไม่ได้เป็นรัฐบาลตามแผนบันได 4 ขั้นของคมช. จึงมีการเคลื่อนไหวของพันธมิตรฯอีก ถึงขนาดที่มีการยึดทำเนียบรัฐบาล ผู้นำกองทัพในขณะนั้นทีแรกบอกว่าเป็นกลาง ต่อมาก็ผสมโรงไปกับการเคลื่อนไหวของพันธมิตรฯ แต่ก็ไม่สามารถล้มรัฐบาลได้ ในที่สุดจึงใช้ศาลรัฐธรรมนูญปลดนายกฯสมัครออกด้วยเรื่องที่ไร้สาระที่สุดดังที่ทราบกัน

เมื่อได้รัฐบาลนายกฯสมชายมา พันธมิตรฯก็เคลื่อนไหวต่อ คราวนี้นอกจากยึดทำเนียบแล้วยังยึดสนามบิน 2 แห่งเสียด้วย ผู้นำกองทัพก็มาในสูตรเดิมก่อน คือบอกว่าต้องวางตัวเป็นกลาง นอกจากไม่ช่วยรัฐบาลรักษากฎหมายแล้ว ยังออกมาเรียกร้องให้นายกฯยุบสภาหรือลาออก แล้วในที่สุดศาลรัฐธรรมนูญก็ตัดสินยุบพรรคพลังประชาชน ทำให้นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์พ้นจากตำแหน่งนายกฯไปด้วย

นายกฯสมัครถูกปลดเพราะทำครัวออกทีวี ส่วนนายกฯสมชายถูกปลดเพราะกกต.เชื่อว่ามีกรรมการบริหารพรรคคนหนึ่งซื้อเสียงด้วยเงินประมาณ 20,000 บาท ถือว่าเป็นการกระทำให้ได้อำนาจการปกครองมาโดยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ต้องยุบพรรคและเมื่อพรรคถูกยุบ กรรมการบริหารพรรคทั้งหมด รวมทั้งนายกฯสมชาย ก็ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งเป็นเวลา 5 ปี

การที่องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญร่วมกันล้มรัฐบาลทั้งสองไปนั้น ได้ทำไปโดยขัดหลักนิติธรรมและหลักประชาธิปไตยอย่างร้ายแรง ด้วยข้ออ้างว่าเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง เพื่อให้สถานการณ์ทางการเมืองที่ตึงเครียดและวุ่นวายได้ผ่อนคลายลง

พูดอีกอย่างก็คือ ยอมทำลายระบบยุติธรรมเพื่อแลกกับการล้มรัฐบาลที่ควบคุมไม่ได้ โดยอาศัยสถานการณ์ทางการเมือง

ต่อมามีการตั้งรัฐบาลอภิสิทธิ์ในค่ายทหาร ประชาชนมาชุมนุมเรียกร้องให้ยุบสภา คราวนี้ผู้นำกองทัพไม่ได้บอกว่าวางตัวเป็นกลาง แล้วก็ช่วยรัฐบาลอภิสิทธิ์กระชับพื้นที่และยึดพื้นที่คืน ทำให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก ในที่สุดก็จับกุมแกนนำไปดำเนินคดีในข้อหาก่อการร้าย

มาถึงขั้นนี้ก็เท่ากับว่าชนชั้นนำและอำมาตย์ได้ใช้เครื่องมือทั้งสามชนิดจัดการจนได้รัฐบาลที่พวกตนต้องการขึ้นมาจนได้

แต่เมื่อมีการเลือกตั้งอีก พรรคประชาธิปัตย์ก็แพ้อีก พรรคเพื่อไทยได้กลับมาเป็นรัฐบาลอีก ไม่เป็นไปตามความต้องการของชนชั้นนำและอำมาตย์อีกจนได้

การที่ชนชั้นนำและอำมาตย์ล้มรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนไปได้ง่ายๆ โดยอาศัยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกลไกตามรัฐธรรมนูญนี้ จึงมีความพยายามที่จะแก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

แต่ปรากฏว่าศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยไปเสียแล้วว่าจะแก้ทั้งฉบับก็ไม่ได้ จะแก้เป็นรายมาตราก็ไม่ได้ ด้วยเหตุผลที่แปลกประหลาดที่สุด นั่นคือ การแก้รัฐธรรมนูญที่พยายามทำกันนั้นขัดต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ เนื่องจากมีเนื้อหาที่แตกต่างจากรัฐธรรมนูญ

เท่ากับว่าศาลรัฐธรรมนูญได้ปิดประตูสำหรับการแก้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ไปแล้ว และนั่นหมายความว่าการจะทำให้บ้านเมืองนี้เป็นประชาธิปไตยมากขึ้นโดยอาศัยรัฐสภาเป็นสิ่งที่ทำไม่ได้เสียแล้ว หากรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตยฉบับนี้ออกฤทธิ์สร้างความไม่เป็นธรรมเช่นที่ผ่านมาอีก การจะหาทางแก้ปัญหาด้วยการแก้รัฐธรรมนูญย่อมเป็นไปไม่ได้

การแก้ปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทยโดยอาศัยกระบวนการในระบบรัฐสภาจึงถูกปิดกั้นไปเสียแล้ว

THAILAND: Danger to political freedom following attack on historian

original : http://www.humanrights.asia/news/ahrc-news/AHRC-STM-031-2014

FOR IMMEDIATE RELEASE

AHRC-STM-031-2014

February 14, 2014

A Statement by the Asian Human Rights Commission

THAILAND: Danger to political freedom following attack on historian

On 12 February 2014, assailants fired repeated gunshots and threw
homemade bombs at the home and car of Professor Somsak Jeamteerasakul,
a history professor at Thammasat University and outspoken political
and cultural critic. The attack took place during the day and
Professor Somsak was at home when it occurred. Although he did not
sustain any physical injuries, the damage to his car and house
indicate that the violence was intended to be deadly. The Asian Human
Rights Commission (AHRC) would like to urgently express concern over
the attack against Professor Somsak and the growing dangers to
political freedom that it indicates. The AHRC calls on the relevant
Thai state agencies to take immediate action to guarantee the safety
of Professor Somsak and others who are at risk for their work
defending political freedom.

As a professor of history at Thammasat University, Professor Somsak
Jeamteerasakul’s writing and teaching have inspired many students
and citizens to carefully examine the past, present, and persecution
of the powerless by the powerful. His criticism often makes those in
power uncomfortable, and there has been an attempt to use Article 112,
the measure of the Criminal Code which stipulates that “Whoever
defames, insults or threatens the King, Queen, the Heir-apparent or
the Regent, shall be punished (with) imprisonment of three to fifteen
years,” to curtail his speech. In April 2011, a police investigation
began against him in relation to a complaint likely made in relation
to comments he made in article about Princess Chulabhorn’s
appearance on a talk show (AHRC-STM-056-2011
<http://www.humanrights.asia/news/ahrc-news/AHRC-STM-056-2011>
). This case is still ongoing, even though Article 112 does not apply
to Princess Chulabhorn, and so there is no legal restriction of
comments made about her. In early February 2014, the deputy spokesman
of the Royal Thai Army commented that the Army plans to file
additional complaints against Professor Somsak in relation to comments
he posted on Facebook.

In May 2011, Thanapol Eawsakul, editor of the magazine Fa Diew Kan
(Same Sky), made a series of six observations about why the complaint
filed Professor Somsak was “a turning point for lèse majesté”
(the observations can be found in Thai here
<http://www.prachatai3.info/journal/2011/05/34480>
and in English translation here
<http://www.prachatai.com/english/node/2508>
). He noted that this complaint represented the transgression of a
line by state power; the line crossed was one that had permitted some
discussion of the monarchy without sanction. In the nearly three years
since Thanapol’s observation, the use of the law to silence dissent
has expanded in Thailand. In November 2011, Amphon Tangnoppakul was
sentenced to a 20-years in prison for allegedly sending 4 SMS messages
with anti-monarchy content, despite significant questions about the
strength of the prosecution’s evidence (AHRC-STM-180-2011
<http://www.humanrights.asia/news/ahrc-news/AHRC-STM-180-2011>
). In May 2012, under medical conditions within the prison system
which reflect gross dehumanization, and perhaps criminal negligence,
Amphon died in prison while serving this sentence (AHRC-STM-101-2012
<http://www.humanrights.asia/news/ahrc-news/AHRC-STM-101-2012>
). In January 2013, Somyos Prueksakasemsuk was sentenced to eleven
years in prison for his role in publishing and dissemination two
issues of Voice of Taksin magazine which contained articles deemed to
violate Article 112; publishing and dissemination were judged to be as
equally legally actionable as writing the articles (AHRC-STM-027-2013
<http://www.humanrights.asia/news/ahrc-news/AHRC-STM-027-2013>
).

In a statement submitted to the twenty-fourth session of the United
Nations Human Rights Council, the Asian Legal Resource Centre (ALRC),
the sister organization of the AHRC, cited these cases and others to
express grave concern over the ongoing entrenchment of the
constriction of freedom of expression on human rights, justice, and
the rule of law in Thailand. The ALRC noted that the frequency of the
exercise of the draconian Article 112 and the Computer Crimes Act
risks the naturalization and normalization of violations of rights and
the constriction of speech and political freedom in the name of the
protection of national security (ALRC-CWS-24-02-2013
<http://www.humanrights.asia/news/alrc-news/human-rights-council/hrc24/ALRC-CWS-24-02-2013>
).

In a statement released on February 13, 2014, the Human Rights
Lawyers Association and several other Thai human rights organizations
released a statement condemning the attack on Professor Somsak and
calling for prompt state action in response to protect him and bring
the perpetrators to justice. They noted that the attack followed
extensive criticism of Professor Somsak in social media, and that his
home address was spread using social media, in violation of his right
to privacy protected by Article 35 of the 2007 Constitution. The HRLA
warned that this kind of attack was a grave threat to human rights
broadly-conceived, and noted that, “Tolerance and acceptance of
different opinions are an important instrument in the development of
democracy. As long as the expression of opinion does not violate the
law, individuals have freedom to express their opinions, and those who
do not agree with these opinions, can express the opposing opinion
within the boundaries of the law. But if individuals in society use
those who express different opinions, a state of fear may ensue in
society and rights and freedom of expression may not be able to be
peacefully exercised” (AHRC translation, HRLA statement can be read
in Thai here
<http://www.naksit.org/index.php/statement/57-2014-02-13-07-05-26>
).

The AHRC would like to further note that this kind of extralegal,
vigilante attack on Professor Somsak Jeamteerasakul represents an
escalation of the crisis surrounding freedom of expression and
political freedom in Thailand. The attack took place during the day,
while Professor Somsak was at home, which indicates both that the
perpetrators were unconcerned with being seen and intended to inflict
harm or death. In a statement released on February 13, 2014, the Khana
Nitirat, a coalition of seven progressive law academics at Thammasat
University, released a statement noting that “The instance of a
group of individuals using weapons to shoot at Dr. Somsak
Jeamteerasakul’s house and damage his car during the day, while Dr.
Somsak was in the house, was a disgraceful act with no regard for the
law. It is clear that this action was a result of Dr. Somsak
expressing his opinion about the institution of the monarchy, which
was within the boundaries of law. The aforementioned action was an
intimidating threat to his freedom of expression and intellectual
freedom” (AHRC translation, Khana Nitirat statement can be read in
Thai here <http://www.enlightened-jurists.com/blog/88>
). The AHRC would like to highlight the Khana Nitirat’s point that
the attack on Professor Somsak was an extralegal threat made against
him due to his exercise of freedom of expression, which is protected
under Article 45 of the 2007 Thai Constitution.

The Asian Human Rights Commission would like to remind the Thai
government that they are a state party to the International Covenant
on Civil and Political Rights (ICCPR) and are bound to uphold the
human rights principles named therein. In particular, the AHRC would
like to call on the Thai state to uphold Article 19 of the ICCPR,
which guarantees the rights to political freedom and freedom of
expression. In this case, part of upholding the ICCPR means protecting
those whose views are dissident and ensuring that they can safely
exercise their political freedom.

It is imperative that the Thai state’s protection of the rights
guaranteed in Article 19 and the remainder of the ICCPR be active,
rather than passive. The AHRC therefore calls on the Metropolitan
police to conduct a full investigation into the attack on Professor
Somsak Jeamteerasakul and bring the men who shot at his house and car
to justice. This will both serve to specifically protect Professor
Somsak and will also signal to other vigilante actors that these kinds
of attacks will not be tolerated in the Thai polity.